หน่วยที่ 4

บทเรียน Power Point  หน่วยที่ 4 
คลิกที่นี่ https://drive.google.com/file/d/0BwUW2VeEMU_xTHpIN1RCQzZNVUk/edit?usp=sharing



เรื่อง บัญชีแยกประเภท

สมุดบัญชีแยกประเภท (Ledger)

            สมุดบัญชีแยกประเภทเป็นสมุดบัญชีขั้นปลายที่ใช้บันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยจำแนกออกให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการที่จะนำข้อมูลไปใช้ในการสรุปผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการ ซึ่งสมุดบัญชีแยกประเภทสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.    สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทหลักที่กิจการจะต้องจัดทำ โดยสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนี้จะประกอบไปด้วยบัญชีต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น บัญชีเงินสด บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีรายได้ บัญชีค่าใช้จ่าย เป็นต้น
2.    สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยที่กิจการจะจัดทำหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าจัดทำก็จะช่วยให้ทราบข้อมูลได้ละเอียดมากขึ้น ซึ่งสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยจะประกอบด้วย
-     สมุดบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ (Accounts Receivable Ledger)เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยของลูกหนี้ โดยแยกลูกหนี้ของกิจการออกเป็นรายตัว ว่าแต่ละรายมีรายละเอียดอย่างไร จำนวนเงินเท่าไร เช่นลูกหนี้-นาย ก ลูกหนี้-นางสาว ข เป็นต้น ซึ่งต่างกับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปจะมีแต่บัญชีลูกหนี้รวมเท่านั้น ไม่มีบัญชีลูกหนี้รายตัว
-     สมุดบัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้ (Accounts Payable Ledger)  เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยของเจ้าหนี้ โดยแยกเจ้าหนี้ของกิจการออกเป็นรายตัว ว่าแต่ละรายมีรายละเอียดอย่างไร จำนวนเงินเท่าไร เช่นเจ้าหนี้-นาย เอ เจ้าหนี้-นางสาว บี เป็นต้น ซึ่งต่างกับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปจะมีแต่บัญชีเจ้าหนี้รวมเท่านั้น ไม่มีบัญชีเจ้าหนี้รายตัว เช่นเดียวกันกับบัญชีแยกประเภทลูกหนี้
สมุดบัญชีแยกประเภท (Ledger)

            สมุดบัญชีแยกประเภทเป็นสมุดบัญชีขั้นปลายที่ใช้บันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยจำแนกออกให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการที่จะนำข้อมูลไปใช้ในการสรุปผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการ ซึ่งสมุดบัญชีแยกประเภทสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
3.    สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทหลักที่กิจการจะต้องจัดทำ โดยสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนี้จะประกอบไปด้วยบัญชีต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น บัญชีเงินสด บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีรายได้ บัญชีค่าใช้จ่าย เป็นต้น
4.    สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยที่กิจการจะจัดทำหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าจัดทำก็จะช่วยให้ทราบข้อมูลได้ละเอียดมากขึ้น ซึ่งสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยจะประกอบด้วย
-     สมุดบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ (Accounts Receivable Ledger)เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยของลูกหนี้ โดยแยกลูกหนี้ของกิจการออกเป็นรายตัว ว่าแต่ละรายมีรายละเอียดอย่างไร จำนวนเงินเท่าไร เช่นลูกหนี้-นาย ก ลูกหนี้-นางสาว ข เป็นต้น ซึ่งต่างกับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปจะมีแต่บัญชีลูกหนี้รวมเท่านั้น ไม่มีบัญชีลูกหนี้รายตัว
-     สมุดบัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้ (Accounts Payable Ledger)  เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยของเจ้าหนี้ โดยแยกเจ้าหนี้ของกิจการออกเป็นรายตัว ว่าแต่ละรายมีรายละเอียดอย่างไร จำนวนเงินเท่าไร เช่นเจ้าหนี้-นาย เอ เจ้าหนี้-นางสาว บี เป็นต้น ซึ่งต่างกับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปจะมีแต่บัญชีเจ้าหนี้รวมเท่านั้น ไม่มีบัญชีเจ้าหนี้รายตัว เช่นเดียวกันกับบัญชีแยกประเภทลูกหนี้

บัญชีคุมยอด (controlling Account)

            ในกรณีที่กิจการใช้สมุดบัญชีแยกประเภทย่อยลูกหนี้และเจ้าหนี้ เพื่อแสดงรายละเอียดของบัญชีลูกหนี้และเจ้าหนี้แต่ละรายนั้น เราจะเรียกบัญชีลูกหนี้และบัญชีเจ้าหนี้ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนั้นว่า บัญชีคุมยอดเนื่องจากว่าจำนวนเงินของลูกหนี้รายตัวเมื่อรวมกันแล้วจะต้องเท่ากับยอดเงินของบัญชีลูกหนี้ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปเสมอ เช่นเดียวกันกับบัญชีเจ้าหนี้ จำนวนเงินของเจ้าหนี้รายตัวเมื่อรวมกันแล้วจะต้องเท่ากับยอดเงินของบัญชีเจ้าหนี้ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปเสมอเช่นกัน
            ในบทแรก ๆ ของหนังสือเล่มนี้จะขออธิบายถึงแต่เฉพาะสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปเท่านั้น สำหรับสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยจะได้อธิบายให้ละเอียดในบทที่ 11 ต่อไป
รูปแบบของสมุดบัญชีแยกประเภท (Account Form)

            รูปแบบของสมุดบัญชีแยกประเภทมี 2 รูปแบบ คือ
1.      แบบมาตรฐาน (Standard Account Form)

ชื่อบัญชี                           เลขที่บัญชี………
        (Account Name)                      (Account No…)
วันที่
(Date)
รายการ
(Explanation)
หน้าบัญชี
(Ref.)
เดบิต
(Debit)
วันที่
(Date)
รายการ
(Explanation)
หน้าบัญชี
(Ref.)
เครดิต
(Credit)
















































            บัญชีแยกประเภทในรูปแบบมาตรฐานนั้นจะเห็นได้ว่ามีลักษณะคล้ายตัว “T” คือแบ่งบัญชีออกเป็น 2 ด้าน ด้านซ้ายคือด้านเดบิต และด้านขวาคือด้านเครดิต ดังนั้นบัญชีแยกประเภทรูปแบบมาตรฐานนี้จึงมักจะเรียกกันว่า บัญชีตัว “T” หรือ T-Account บัญชีแยกประเภทรูปแบบมาตรฐานนี้จะใช้กับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป

2.      แบบแสดงยอดคงเหลือ (Balance Account Form)

ชื่อบัญชี                  เลขที่บัญชี……….
         (Account Name)                    (Account No…)
วันที่
(Date)
รายการ
(Explanation)
หน้าบัญชี
(Ref.)
เดบิต
(Debit)
เครดิต
(Credit)
ยอดคงเหลือ
(Balance)
















































































           
            รูปแบบของสมุดบัญชีแยกประเภทแบบแสดงยอดคงเหลือนี้ จะแสดงให้เห็นถึงยอดคงเหลือของบัญชีทันทีว่าหากมีรายการค้าเกิดขึ้นยอดคงเหลือของบัญชีนั้น ๆ จะเป็นเท่าไร ซึ่งโดยทั่วไปมักจะใช้กับสมุดบัญชีแยกประเภทย่อยไม่ว่าจะเป็นสมุดบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ และสมุดบัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้ เพราะจะทำให้ทราบยอดคงเหลือของบัญชีลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ได้ทันที


การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภททั่วไป (Posting)

            การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปหรือที่เรียกกันว่าการผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนั้น มีขั้นตอนดังนี้
1.    นำชื่อบัญชีที่อยู่ทางด้านเดบิตและเครดิตในสมุดรายวันทั่วไปมาตั้งเป็นชื่อบัญชีในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป หากชื่อบัญชีซ้ำกันก็ให้ใช้ชื่อบัญชีเดิม แต่หากไม่ซ้ำก็ต้องเปิดบัญชีแยกประเภทขึ้นมาใหม่
2.    เขียนวันที่ ตามสมุดรายวันทั่วไปในด้านเดบิตหรือเครดิต แล้วแต่ว่าบัญชีนั้นถูกบันทึกไว้ในสมุดรายวันทั่วไปทางด้านใด
3.       ช่องรายการจะใช้เขียนคำอธิบาย โดย
3.1  หากเป็นรายการเปิดบัญชีที่เป็นการลงทุนใหม่ที่เจ้าของกิจการนำสินทรัพย์เพียงอย่างเดียวมาลงทุน ในช่องรายการให้เขียนชื่อบัญชีที่อยู่ตรงกันข้าม
3.2  หากเป็นรายการเปิดบัญชีที่เป็นการลงทุนใหม่แต่เจ้าของกิจการนำสินทรัพย์มากกว่าหนึ่งรายการและหรือนำหนี้สินมาลงทุนด้วย ในช่องรายการให้เขียนคำว่า สมุดรายวันทั่วไป
3.3  หากเป็นรายการเปิดบัญชีที่ไม่ใช่เป็นการลงทุนครั้งแรก แต่เป็นการเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ของกิจการ ในช่องรายการให้เขียนคำว่า ยอดยกมา
3.4  หากเป็นรายการค้าปกติของกิจการ ในช่องรายการให้เขียนชื่อบัญชีที่อยู่ตรงกันข้าม
4.    เขียนอ้างอิงหน้าที่ของสมุดรายวันทั่วไปที่บันทึกรายการนั้น ว่ารายการที่ผ่านมาสมุดบัญชีแยกประเภทในครั้งนี้มากจากรายการที่ได้บันทึกแล้วในสมุดรายวันหน้าที่เท่าไร ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบว่ารายการที่บันทึกในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนั้นมาจากสมุดรายวันทั่วไปหน้าที่เท่าไร โดยการเขียนอ้างอิงหน้าบัญชีนั้น ให้ใช้อักษรย่อ รว.” แทนคำว่าสมุดรายวันทั่วไป แล้วตามด้วยเลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไป เช่น หากรายการค้านี้ผ่านมาจากสมุดรายวันทั่วไปหน้าที่ 1 ให้เขียนอ้างอิงในช่องหน้าบัญชีว่า รว. 1”
5.    เขียนจำนวนเงินที่ปรากฎในสมุดรายวันทั่วไปลงในช่องจำนวนให้มีจำนวนเท่ากันตามชื่อบัญชีนั้น ๆ



ตัวอย่างที่ 1

            จากตัวอย่างที่ 1 ในบทที่ 3 “บำรุงกลการ” (กรณีรายการเปิดบัญชีเป็นการนำสินทรัพย์เพียงอย่างเดียวมาลงทุนเราสามารถผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปที่ได้บันทึกไว้แล้วในบทที่ 3 มาสมุดบัญชีแยกประเภทได้ดังนี้


     เงินสด                                                          11
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546





2546





..
1
ทุน-นายบำรุง
รว.1
400,000
-
..
2
อุปกรณ์ซ่อม
รว.1
150,000
-

5
รายได้ค่าซ่อม
รว.1
15,000
-

8
อุปกรณ์ซ่อม
รว.1
40,000
-







12
ค่าโฆษณา
รว.1
2,000
-







20
เงินเดือนและค่าแรง
รว.1
6,000
-







26
เจ้าหนี้
รว.1
60,000
-







28
ค่าสาธารณูปโภค
รว.1
750
-





































เงินฝากธนาคาร                                                    12
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546





2546





..
21
ลูกหนี้
รว.1
30,000
-
..
30
ค่าเช่า
รว.1
5,000
-

























ลูกหนี้                                                 13
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546





2546





..
15
รายได้ค่าบริการซ่อม
รว.1
65,000
-
..
21
เงินฝากธนาคาร
รว.1
30,000
-





































อุปกรณ์ซ่อม                                                       15
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546











..
2
เงินสด
รว.1
150,000
-







8
เงินสด
รว.1
40,000
-








เจ้าหนี้
รว.1
60,000
-































เจ้าหนี้                                                21
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546





2546





..
26
เงินสด
รว.1
60,000
-
..
8
อุปกรณ์ซ่อม
รว.1
60,000
-





































ทุน-นายบำรุง                                                       31
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต







2546











..
1
เงินสด
รว.1
400,000
-

























รายได้ค่าซ่อม                                                    41
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต







2546











..
5
เงินสด
รว.1
15,000
-







15
ลูกหนี้
รว.1
65,000
-












เงินเดือนและค่าแรง                                            51
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546











..
20
เงินสด
รว.1
6,000
-































ค่าเช่า                                                                  52
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546











..
1
เงินฝากธนาคาร
รว.1
5,000
-































ค่าโฆษณา                                                         53
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546











..
12
เงินสด
รว.1
2,000
-































ค่าสาธารณูปโภค                                                  54
วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เดบิต

วันที่

รายการ

หน้าบัญชี
เครดิต

2546











..
28
เงินสด
รว.1
750
-































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น